โครงการประสานงานการวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG)
การประชุมเสนอรายงานขั้นกลาง โครงการสำรวจสถานะของเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนในบริบทประเทศไทยและทางเลือกมาตรการ เศรษฐศาสตร์ สังคมและกฎหมาย วันจันทร์ที่ 1 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมแมนดาริน
โครงการประสานงานการวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG)
รายงานความก้าวหน้าโครงการ ครั้งที่ 1 โดย
ชล บุนนาค อรรถเศรษฐ์ จริยธรรมนุกลู ดร.ณัฐวิคม พันธุวงศ์ภักกดี ณัชฎา คงศรี ปาริชาติ เรืองเดช
ภาพรวมการนำเสนอ 1. ภาพรวมโครงการ 2. บทบาการสนับสนุนโครงการ 3. บทบาทการประสานงานเชื่อมโยงเครือข่าย 4. บทบาทการติดตามความก้าวหน้าวิชาการ ระดับสากล 5. บทบาทการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร 6. ส่วนวิเคราะห์โครงการและก้าวต่อไป
1. ภาพรวมโครงการ
วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนงานวิจัย ภายใต้ประเด็น งานวิจัยที่สนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 2) เพื่อประสานงานเครือข่ายนักวิจัยด้านที่เกี่ยวข้อง กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อจัดการองค์ ความรู้ สังเคราะห์และถอดบทเรียนงานวิจัยที่ เกี่ยวกับเป้าหมายด้านต่าง ๆ และผลิตเป็นข้อเสนอ เชิง นโยบาย (Policy Paper)
วัตถุประสงค์ของโครงการ 3) เพื่อประสานงานเชื่อมโยงเครือข่ายนักวิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ที่ทำงานใน ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อจัดการองค์ความรู้ สังเคราะห์และถอดบทเรียน ภาคปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายด้านต่าง ๆ 4) เพื่อติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการของ SDGs ในระดับสากล 5) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน สถานการณ์ ปัจจุบัน และความคืบหน้าเกี่ยวกับการดำเนินการที่ เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนการดำเนินงาน
2. บทบาทการสนับสนุนโครงการ
แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน การประกาศโจทย์วิจัย การคัดเลือก การประกาศผล การประชุมเตรียมพร้อม ดำเนินการ เวทีแลกเปลี่ยน เวทีนำเสนอ การนำส่ง ปิดโครงการ การเผยแพร่
พ.ศ. 2559 พ.ย.
ธ.ค.
พ.ศ. 2560 ม.ค
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
การประกาศรับข้อเสนองานวิจัย “โครงการสำรวจสถานะของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบท ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการเศรษฐศาสตร์ สังคม และกฎหมาย” 31 ตุลาคม 2559: เปิดรับข้อเสนอโครงการ
จำนวน (สัดส่วน) ข้อเสนอโครงการจำแนกตามเป้าหมาย ทั้งหมดจำนวน 60 โครงการ
30 พฤศจิกายน 2559: ปิดรับเสนอโครงการ
3 (5%)
6 (10%)
5 (8%)
3 (5%)
6 (10%)
1 (2%)
2 (3%)
6 (10%)
2 (3%)
4 (7%)
1 (2%)
2 (3%)
3 (5%)
2 (3%)
7 (12%)
6 (10%)
1 (2%)
การพิจารณาคัดเลือกโครงการ
สรุปผลการคัดเลือกข้อเสนอโครงการ “โครงการสำรวจสถานะของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบท ประเทศไทย และทางเลือกมาตรการเศรษฐศาสตร์ สังคม และกฎหมาย”
✓
✓
ปีที่ 2
✓
✓
ปีที่ 2
✓
✓
✓
ปีที่ 2
ปีที่ 2
✓
✓
✓
✓
✓
ปีที่ 2
3. บทบาทการประสานงานเชื่อมโยง เครือข่าย
งานประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดลำดับเป้าประสงค์ที่มี ความสำคัญสูงสุด 30 เป้าประสงค์ เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดลำดับ ความสำคัญ (ความเร่งด่วน x ผลกระทบ) 26 ส.ค.
5 ก.ย. 12 ก.ย. 25 พ.ย.
ความพร้อม (ข้อมูล x ความรู้ x กฎหมาย x ทรัพยากร x สังคม)
28 พ.ย.
ปลาย ส.ค.
ปลาย พ.ย.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การขับเคลื่อนเป้าหมาย และเป้าประสงค์การ พัฒนาที่ยั่งยืน (ภาพรวม)
2.65% 7.47%
สัดส่วนของประเภทองค์กรที่เข้าร่วม 8.19%
ร้อยละ
5.06%
76.63%
หน่วยงานรัฐ เอกชน วิชาการ องค์กรระหว่างประเทศ อื่น ๆ
งานประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดลำดับเป้าประสงค์ที่มี ความสำคัญสูงสุด 30 เป้าประสงค์ จำนวนเป้าประสงค์ที่ติดอันดับ 5 4
4 3
3
2
2 1 0
3
1
2 1
1
1
2 1
1
1
1
2
2
2
สังคม (PEOPLE) (เป้าหมายที่ ๑ ๒ ๓ ๔ และ ๕) ๑.๓ มาตรการคุ้มครองทางสังคม ๒.๑ ยุติความหิวโหย และการเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย เพียงพอ ๒.๔ ระบบการผลิตอาหารที่ยั่งยืน การเกษตรมีภูมิคุ้มกันต่อ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ๒.๕ ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล็ดพันธุ์ ๓.๓ ยุติการแพร่กระจายของ HIV และโรคติดต่อ ๓.๔ ลดการตายจากโรคไม่ติดต่อ ๓.๕ เสริมสร้างการป้องกันและการรักษาการใช้สารในทางที่ ผิด (สารเสพติด ) ๓.๖ ลดอุบัติเหตุทางถนน ๔.๑ สำเร็จการศึกษาประถม มัธยมคุณภาพเท่าเทียมและไม่มี ค่าใช้จ่าย ๔.๒ เข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับ ก่อนประถมศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ ๕.๒ ลดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก
สันติภาพ สถาบันที่เข้มแข็ง และ ความยุติธรรม (PEACE) (เป้าหมายที่ ๑๖) หุ้นส่วนการพัฒนา (PARTNERSHIP) (เป้าหมายที่ ๑๗)
เป้าประสงค์ที่มีความสำคัญสูงสุด ๓๐ เป้าประสงค์ จำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย
เศรษฐกิจ (PROSPERITY) (เป้าหมายที่ ๗ ๘ ๙ ๑๐ และ ๑๑) ๗.๓ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ๘.๑ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมและ ยั่งยืน ๘.๔ ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร และดัดความเชื่อมโยง ระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจและ การทำให้สิ่งแวดล้อม เสื่อมโทรม ๙.๔ อุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๑๐.๑ เพิ่มการเติบโตของรายได้กลุ่มคนยาก ร้อยละ ๔๐ ล่างสุด ๑๑.๕ ลดจำนวนการตายและจำนวนคนที่ได้รับผลกระทบ จากภัยพิบัติ
สิ่งแวดล้อม (PLANET) (เป้าหมายที่ ๖ ๑๒ ๑๓ ๑๔ และ ๑๕) ๖.๑ การเข้าถึงน้ำดื่มปลอดภัย มีราคาหาซื้อได้ ๑๒.๔ การจัดการสารเคมีและของเสียที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๑๔.๔ การฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล ๑๔.๖ ยับยั้งรูปแบบการอุดหนุนประมงเกินขีดจำกัดและ IUU ๑๕.๒ การจัดการป่าอย่างยั่งยืน ๑๓.๑ เสริมภูมิต้านทานและขีดความสามารถในการปรับตัวต่อ อันตรายและภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ ๑๓.๒ บูรณาการมาตรการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในในนโยบาย ๑๕.๑ อนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศบนบก น้ำจืด พื้นที่ชุ่มน้ำ
๑๖.๒ ยุติการค้ามนุษย์ และความรุนแรงต่อเด็ก ๑๖.๕ ลดการทุจริตคอร์รัปชั่น
๑๗.๑ การระดมทรัพยากรของรัฐเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน ๑๗.๑๑ เพิ่มส่วนแบ่งการส่งออกของประเทศกำลังพัฒนา ๑๗.๑๔ ยกระดับความสอดคล้องเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความสอดคล้องระหว่าง 30 เป้าประสงค์กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
การขับเคลื่อน SDGS ในประเทศไทยและความเชื่อมโยงกับเวทีโลก ระดับโลก ระดับประเทศ
ภาคเอกชน
สื่อ
ภาครัฐ คณะกรรมการเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) หน่วยงานหลัก/หน่วยงานรองที่ดูแลแต่ละเป้าหมาย
ภาควิชาการ
เครือข่ายภาคประชาสังคม เยาวชน
และนักวิชาการ/อาจารย์ในมหาวิทยาลัยและสถาบันต่างวิจัยต่าง ๆ
4. ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการของ SDGS ในระดับสากล
ภาพรวมการดำเนินการในปีที่ 1 1. จาก MDGs สู่ SDGs 2. สถานการณ์ใน ระดับโลกว่าด้วยการ บรรลุ SDGs รวมถึง ความท้าทายและ อุปสรรค
4. การ เปรียบเทียบ SDGs กับแนวคิด ด้านการพัฒนา
3. บทบาทของ ภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน SDGs
5. การพัฒนา ตัวชี้วัดและ ติดตามตัวชี้วัด 6
6. ข้อเสนอเชิง นโยบาย ยุทธศาสตร์ และระบบการบริหาร จัดการ
5. การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภาพรวมการดำเนินงาน คณะทำงานได้ทำการรวบรวมข่าวสาร และประมวลข้อมูลในเบื้องต้น ตลอดจนผลิต บทความเพื่อเผยแพร่ต่อสื่อสาธารณะในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมี จุดประสงค์ที่สำคัญ 2 ประการ คือ : 1) เพิ่มช่องทางการสื่อสารความเคลื่อนไหวในการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อสาธารณะเพื่อการ ตระหนักรู้และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาที่ยั่งยืน และ 2) เพิ่มโอกาสในการประสานงานและสร้างเครือข่ายอันดีระหว่างภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และโดยเฉพาะภาควิชาการ ในส่วนของการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนนี้
รูปแบบการนำเสนอสื่อสาธารณะ (1) สื่อประกาศความคืบหน้าในการดำเนินการของ โครงการวิจัยฯ ผ่านทาง เว็บไซด์ www.sdgmove.com Facebook และ Twitter ของโครงการ (2) สื่อเผยแพร่ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ ยั่งยืน รวมทั้งงานประชุมและงานสัมมนาที่ เกี่ยวข้อง (3) สื่อนำเสนอทางการศึกษา/วิชาการ อันได้แก่ บทความที่เกี่ยวข้องกับ SDGs บทสัมภาษณ์วิถีการ พัฒนาที่ยั่งยืนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ Fact Sheets หรือ Info graphic
ผลผลิตและข้อมูลทางสถิติที่นำเสนอในสื่อ สาธารณะ www.sdgmove.com การโพสต์ข้อมูล ข่าวสาร สถิติและบทความแต่ละเดือน
ปี พ.ศ. 2559 2559 2559 2560 2560 2560 2560
เดือน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน*
*สถิติถึงวันที่ 27 เมษายน 2560
จำนวนโพสต์ 25 17 18 10 5 11 4
จำนวนการเข้าชมข้อมูล ข่าวสาร สถิติและบทความแต่ละเดือน
ปี พ.ศ. 2559 2559 2559 2560 2560 2560 2560
จำนวนการเข้าชม เดือน (ครั้ง) ตุลาคม 299 พฤศจิกายน 5,165 ธันวาคม 1,832 มกราคม 1,744 กุมภาพันธ์ 3,222 มีนาคม 4,798 เมษายน* 3,838
สัดส่วนการเข้าถึงเว็บไซต์ในแต่ละภูมิภาคทั่วโลก
ผลผลิตและข้อมูลทางสถิติที่นำเสนอในสื่อ สาธารณะ Facebook page: SDG Move TH ปี
เดือน
จำนวนผู้เข้าชมทั้งหมด (Total Monthly Reach – Unique Users)
2559
ตุลาคม
6427
2559
พฤศจิกายน
12,093
2559
ธันวาคม
2,014
2560
มกราคม
7,104
2560
กุมภาพันธ์
55,676
2560
มีนาคม
11,588
2560
เมษายน
4,471
*สถิติถึงวันที่ 27 เมษายน 2560 Daily Total reach Daily The number of people who have seen any content associated with your Page. (Unique Users)
6. ข้อจำกัด ปัญหา และอุปสรรค ในการดำเนิน โครงการ และแผนการดำเนินงานระยะต่อไป
ปัญหา และอุปสรรคในการดำเนินงาน • การประชุมเกี่ยวกับ SDGs จัดโดย ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม มีจำนวนมากเกินกว่าที่คาดหมาย • ท่าทีของภาคส่วนต่าง ๆ ต่อการขับเคลื่อน SDGs มีความหลากหลาย • การดำเนินงานของภาครัฐมีจังหวะก้าวที่ไวกว่างานด้านวิชาการ • ภาครัฐรับรู้และปฏิบัติต่อ SDGs แบบแยกส่วนและมุ่งตอบตัวชี้วัดเป็นหลักจนขาดการสร้าง ภาพของเป้าหมายร่วม และกระบวนการการมีส่วนร่วมที่มีความหมายจากภาคส่วนต่าง ๆ • ภาคส่วนต่าง ๆ ดำเนินงานสอดคล้องกับ SDGs อยู่แล้วแต่ปัจจุบันยังขาดการจัดการความรู้ • ภาคส่วนต่าง ๆ ยังเข้าใจ SDGs ยังค่อนข้างผิวเผิน
การดำเนินงานระยะต่อไป
การดำเนินงานระยะต่อไป
การดำเนินงานระยะต่อไป
ติดต่อ:
[email protected] FB AND TWITTER: @SDGMOVETH